คำศัพท์ :
กิเลสสิ่งที่ทำใจให้เศร้าหมอง, ความชั่วที่แฝงอยู่ในความรู้สึกนึกคิด ทำให้จิตใจขุ่นมัวไม่บริสุทธิ์ และเป็นเครื่องปรุงแต่งความคิดให้ทำกรรมซึ่งนำไปสู่ปัญหาความยุ่งยากเดือดร้อนและความทุกข์
กิเลส ๑๐ (ในบาลีเดิม เรียกวา
กิเลสวัตถุ คือสิ่งกอความเศราหมอง ๑๐) ไดแก โลภะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ;
กิเลสพันหา (
กิเลส ๑,๕๐๐) เปนคําที่มีใชในคัมภีรรุนหลังจากพระไตรปฎก เริ่มปรากฏในชั้นอรรถกถา ซึ่งกลาวไว ทํานองเปนตัวอยาง โดยระบุชื่อไวมากที่ สุดเพียง ๓๓๖ อยาง ตอมาในคัมภีรชั้นหลังมาก อยางธัมมสังคณีอนุฎีกา จึงแสดงวิธีนับแบบตางๆ ใหไดครบจํานวน เชน กิเลส ๑๐ x อารมณ ๑๕๐ = ๑,๕๐๐ (อารมณ ๑๕๐ ไดแก อรูปธรรม ๕๗ และรูปรูป ๑๘ รวมเปน ธรรม ๗๕ เปนฝายภายใน และฝายภายนอก ฝายละเทากัน รวมเปน ๑๕๐)
อนึ่ง ในอรรถกถา ทานนิยมจําแนก กิเลสเปน ๓ ระดับ ตามลําดับขั้นของการละดวยสิกขา ๓ (เชน วินย.อ.๑/๒๒; ที.อ. ๑/๑๙; สงฺคณี อ.๒๓) คือ ๑. วีติกกมกิเลส กิเลสอยางหยาบ ที่เปนเหตุใหลวงละเมิดออกมาทางกายและวาจา เชน เปนกายทุจริตและวจีทุจริต ละดวยศีล (อธิศีลสิกขา) ๒. ปริยุฏฐานกิเลส กิเลสอยางกลางที่พลุงขึ้นมาเรารุมอยูในจิตใจ ดังเชนนิวรณ ๕ ในกรณีที่จะขมระงับไว ละดวยสมาธิ (อธิจิตตสิกขา) ๓. อนุสยกิเลส กิเลสอยางละเอียดที่นอนเนื่องอยูในสันดานอันยังไมถูกกระตุนใหพลุงขึ้น มา ไดแกอนุสัย ๗ ละดวยปญญา (อธิปญญาสิกขา); ทั้งนี้ บางแหงทานแสดง ไวโดยอธิบายโยงกับพระไตรปฎก คือ กลาววา อธิศีลสิกขา ตรัสไวเปนพิเศษ ในพระวินัยปฎกๆ จึงวาดวยการละวีติกกมกิเลส, อธิจิตตสิกขา ตรัสไวเปนพิเศษในพระสุตตันตปฎกๆ จึงวาดวยการละปริยุฏฐานกิเลส, อธิปญญาสิกขา ตรัสไวเปนพิเศษในพระอภิธรรมปฎกๆ จึงวาดวยการละอนุสยกิเลส