คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ พิมพ์ครั้งที่ 31 [คลิก]
คำศัพท์ : ถวายพรพระ

(พระสงฆ) สวดพุทธชัยมงคลคาถา ( หรือชยมังคลัฏฐกคาถา) ในพิธี โดยเฉพาะกอนเจาภาพถวาย ภัตตาหาร, เปนธรรมเนียมที่ปฏิบัติมาวา ในงานพิธีที่มีการสวดมนตเย็น แลวฉัน เชา หรือฉันเพลในวันรุงขึ้น เมื่อจะฉัน ภัตตาหารเชาหรือเพลนั้น มีการสวด ถวายพรพระกอน คือ เมื่อเจาภาพจุด ธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย และสมาทาน ศีลแลว พระสงฆจะสวดถวายพรพระ ตอไปเลย โดยไมตองอาราธนาพระ ปริตร ดังนี้

๑. นมการปาฐะ (นโม ๓ จบ)

๒. พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ( อิ ติ ป โส ภควา ฯเปฯ อน ุ ตฺ ตร ํ ปุ ฺ ก ฺเขตฺ ตํ โลกส ฺ สาติ )

๓. บทถวายพรพระ คือชยมังคลัฏฐกคาถา (พาหุ ฯเปฯ นโร สป ฺ โ)

๔. ชยปริตฺตคาถา (มหาการ ุ ณิ โก นาโถ ฯเปฯ ลภน ฺ ตตฺ เถ ปทก ฺ ขิ เณ)

จบแลว สวด ภวต ุ สพฺ พมงคล ํ ฯเปฯ สทา โสต ฺ ถี ภวนฺ ต ุ เต ตอไปเลย โดยไม ตองหยุดขึ้นใหม

(มักพูดใหจํากันงายๆ วาถวายพรพระ คือสวด นโม… อิติป โส… พาหุ… มหากาฯ… ภวตุ สพฺฯ…)

เมื่อสวดจบแลว พระสงฆก็รับ ภัตตาหารฉันตอไป

ที่เรียกวา “บทถวายพรพระ” ก็คือ พุทธชัยมงคลคาถา หรือ ชยมังคลัฏฐกคาถา (บางทีเรียกงายๆ วา “คาถาพาหุง”)

พึงสังเกตวา ในการถวายพรพระตาม ธรรมเนียมที่กลาวมานั้น พระสงฆสวด ทั้งพุทธชัยมงคลคาถา (ชยมังคลัฏฐกคาถา หรือคาถาพาหุง) และตอดวย ชยปริตตคาถา ซึ่งมีชัยมงคลคาถา (คือ คาถามหาการุณิโก ซึ่งมีบท “ชยนฺโต…”)
ดู ชยมังคลัฏฐกคาถา, ชยปริตตคาถา, ชยปริตร, ชัยมงคลคาถา