คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 34 [คลิก]
คำศัพท์ : ขันธ์ ๕

ขันธ 5 หรือ เบญจขันธ (กองแหงรูปธรรมและนามธรรมหาหมวดที่ประชุมกัน เขาเปนหนวยรวม ซึ่งบัญญัติเรียกวา สัตว บุคคล ตัวตน เรา–เขา เปนตน, สวนประกอบหาอยาง ที่รวมเขาเปนชีวิต — Pa¤ca-khandha: the Five Groups of Existence; Five Aggregates)
1.รูปขันธ (กองรูป, สวนที่เปนรูป, รางกาย พฤติกรรม และคุณสมบัติตางๆ ของสวนที่เปน รางกาย, สวนประกอบฝายรูปธรรมทั้งหมด, สิ่งที่เปนรางพรอมทั้งคุณและอาการ — Råpakhandha: corporeality)
2.เวทนาขันธ (กองเวทนา, สวนที่เปนการเสวยรสอารมณ, ความรูสึก สุข ทุกข หรือเฉยๆ — Vedanà-khandha: feeling; sensation)
3.สัญญาขันธ (กองสัญญา, สวนที่เปนความกําหนดหมายใหจําอารมณนั้นๆ ได, ความ กําหนดไดหมายรูในอารมณ 6 เชนวา ขาว เขียว ดํา แดง เปนตน — Sa¤¤à-khandha: perception)
4.สังขารขันธ (กองสังขาร, สวนที่เปนความปรุงแตง, สภาพที่ปรุงแตงจิตใหดีหรือชั่วหรือเปน กลางๆ, คุณสมบัติตางๆ ของจิต มีเจตนาเปนตัวนํา ที่ปรุงแตงคุณภาพของจิต ใหเปนกุศล อกุศล อัพยากฤต — Saïkhàra-khandha: mental formations; volitional activities)
5.วิญญาณขันธ (กองวิญญาณ, สวนที่เปนความรูแจงอารมณ, ความรูอารมณทางอายตนะทั้ง 6 มี การเห็น การไดยิน เปนตน ไดแก วิญญาณ 6 — Vi¤¤àõa-khandha: consciousness)

ขันธ 5 นี้ ยอลงมาเปน 2 คือ นาม และ รูป ; รูปขันธจัดเปนรูป, 4 ขันธนอกนั้นเปนนาม. อีกอยางหนึ่ง จัดเขาในปรมัตถธรรม 4: วิญญาณขันธเปน จิต , เวทนาขันธ สัญญาขันธ และ สังขารขันธ เปน เจตสิก , รูปขันธ เปน รูป , สวน นิพพาน เปนขันธวินิมุต คือ พนจากขันธ 5

เรื่องขันธ ๕ พึงดูประกอบในหมวดธรรมอื่นๆ เชน
1. รูปขันธ์ ดู [38] รูป 21, 28; [39] มหาภูต 4; [40] อุปาทายรูป 24
2. เวทนาขันธ ดู [110] เวทนา 2; [111] เวทนา 3; [112] เวทนา 5; [113] เวทนา 6.
3. สัญญาขันธ์ ดู [271] สัญญา 6
4. สังขารขันธ ดู [119] สังขาร 31 ; [120] สังขาร 32 ; [129] อภิสังขาร 3; [263] เจตนา 6.
5. วิญญาณขันธ ดู [268] วิญญาณ 6
นอกนี้ ดู [356] จิต 89; [355] เจตสิก 52