คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 34 [คลิก]
คำศัพท์ : สมบัติ ๔

สมบัติ 4 (ขอดี, ความเพียบพรอม, ความสมบูรณแหงองคประกอบตางๆ ซึ่งอํานวยแกการใหผลของกรรมดี และไมเปดชองใหกรรมชั่วแสดงผล, สวนประกอบอํานวยชวยเสริมกรรมดี — Sampatti: accomplishment; factors favourable to the ripening of good Karma)
1.คติสมบัติ (สมบัติแหงคติ, ถึงพรอมดวยคติ, คติให; ในชวงยาวหมายถึงเกิดในกําเนิดอันอํานวยหรือที่เกิดอันเจริญ ในชวงสั้นหมายถึง ที่อยูที่ไปทางดําเนินดีหรือทําถูกเรื่องถูกที่คือ กรณีนั้นสภาพแวดลอมนั้น สถานการณนั้น ถิ่นที่นั้น ตลอดถึงแนวทางดําเนินชีวิตขณะนั้น เอื้ออํานวยแกการกระทําความดี หรือการเจริญงอกงามของความดี ทําใหความดีปรากฏผลโดยงาย — Gati-sampatti: accomplishment of birth; fortunate birthplace; favourable environment, circumstances or career)
2.อุปธิสมบัติ (สมบัติแหงรางกาย, ถึงพรอมดวยรูปกาย, รูปกายให; ในชวงยาวหมายถึง มี กายสงา สวยงาม บุคลิกภาพดี ในชวงสั้นหมายถึง รางกายแข็งแรง มีสุขภาพดี — Upadhisampatti: accomplishment of the body; favourable or fortunate body; favourable personality, health or physical conditions)
3.กาลสมบัติ (สมบัติแหงกาล, ถึงพรอมดวยกาล, กาลให; ในชวงยาว หมายถึง เกิดอยูใน สมัยที่โลกมีความเจริญ หรือบานเมืองสงบสุข มีการปกครองที่ดี คนในสังคมอยูในศีลธรรม สามัคคีกัน ยกยองคนดี ไมสงเสริมคนชั่ว ในชวงสั้นหมายถึง ทําถูกกาลถูกเวลา — Kàlasampatti: accomplishment of time; favourable or fortunate time)
4.ปโยคสมบัติ (สมบัติแหงการประกอบ, ถึงพรอมดวยการประกอบความเพียร, กิจการให; ในชวงยาวหมายถึงฝกใฝในทางที่ถูกนําความเพียรไปใชขวนขวายประกอบการที่ถูกตองดีงาม มีปกติประกอบกิจการงานที่ถูกตอง ทําแตความดีงามอยูแลว ในชวงสั้นหมายถึง เมื่อทํากรรมดี ก็ทําใหถึงขนาดทําจริงจังใหครบถวนตามหลักเกณฑ ใชวิธีการที่เหมาะกับเรื่องหรือทําความดีตอเนื่องมาเปนพื้นแลวกรรมดีที่ทําเสริมเขาอีกจึงเห็นผลไดงาย — Payoga-sampatti: accomplishment of undertaking; favourable, fortunate or adequate undertaking)

ดู [176]วิบัติ 42 ; [223]นิยาม 5.