คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 34 [คลิก]
คำศัพท์ : วิปัสสนาญาณ ๙

วิปสสนาญาณ 9 (ญาณในวิปสสนา, ญาณที่นับเขาในวิปสสนา หรือที่จัดเปน วิปสสนา คือ เปนความรูที่ทําใหเกิดความเห็นแจง เขาใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามเปนจริง — Vipassanà¤àõa : insight-knowledge)
1.อุทยัพพยานุปสสนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความเกิดและความดับ คือ พิจารณาความ เกิดขึ้นและความดับไปแหงเบญจขันธ จนเห็นชัดวา สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นครั้นแลวก็ตองดับไป ลวนเกิดขึ้นแลวก็ดับไปทั้งหมด — Udayabbaya¤àõa : knowledge of contemplation on rise and fall)
2.ภังคานุปสสนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความสลาย คือ เมื่อเห็นความเกิดดับเชนนั้นแลว คํานึงเดนชัดในสวนความดับอันเปนจุดจบสิ้น ก็เห็นวาสังขารทั้งปวงลวนจะตองสลายไปทั้งหมด — Bhaïga¤àõa : knowledge of contemplation on dissolution)
3.ภยตูปฏฐานญาณ (ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเปนของนากลัว คือ เมื่อพิจารณาเห็น ความแตกสลายอันมีทั่วไปแกทุกสิ่งทุกอยางเชนนั้นแลว สังขารทั้งปวงไมวาจะเปนไปในภพใดคติ ใด ก็ปรากฏเปนของนากลัว เพราะลวนแตจะตองสลายไป ไมปลอดภัยทั้งสิ้น — Bhaya¤àõa : knowledge of the appearance as terror)
4.อาทีนวานุปสสนาญาณ (ญาณอันคํานึงเห็นโทษ คือ เมื่อพิจารณาเห็นสังขารทั้งปวงซึ่งลวน ตองแตกสลายไป เปนของนากลัวไมปลอดภัยทั้งสิ้นแลว ยอมคํานึงเห็นสังขารทั้งปวงนั้นวาเปนโทษ เปนสิ่งที่มีความบกพรอง จะตองระคนอยูดวยทุกข — âdãnava¤àõa : knowledge of contemplation on disadvantages)
5.นิพพิทานุปสสนาญาณ (ญาณอันคํานึงเห็นดวยความหนาย คือ เมื่อพิจารณาเห็นสังขารวา เปนโทษเชนนั้นแลว ยอมเกิดความหนาย ไมเพลิดเพลินติดใจ — Nibbidà¤àõa : knowledge of contemplation on dispassion)
6.มุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณอันคํานึงดวยใครจะพนไปเสีย คือ เมื่อหนายสังขารทั้งหลายแลว ยอมปรารถนาที่จะพนไปเสียจากสังขารเหลานั้น — Mu¤citukamyatà¤àõa : knowledge of the desire for deliverance)
7.ปฏิสังขานุปสสนาญาณ (ญาณอันคํานึงพิจารณาหาทาง คือ เมื่อตองการจะพนไปเสีย จึง กลับหันไปยกเอาสังขารทั้งหลายขึ้นมาพิจารณากําหนดดวยไตรลักษณเพื่อมองหาอุบายที่จะปลด เปลื้องออกไป — Pañisaïkhà¤àõa : knowledge of reflective contemplation)
8.สังขารุเปกขาญาณ (ญาณอันเปนไปโดยความเปนกลางตอสังขาร คือ เมื่อพิจารณาสังขาร ตอไป ยอมเกิดความรูเห็นสภาวะของสังขารตามความเปนจริง วามีความเปนอยูเปนไปของมัน อยางนั้นเปนธรรมดา จึงวางใจเปนกลางได ไมยินดียินรายในสังขารทั้งหลาย แตนั้นมองเห็น นิพพานเปนสันติบท ญาณจึงแลนมุงไปยังนิพพาน เลิกละความเกี่ยวเกาะกับสังขารเสียได — Saïkhàrupekkhà¤àõa : knowledge of equanimity regarding all formations)
9.สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ (ญาณอันเปนไปโดยอนุโลมแกการหยั่งรูอริยสัจจ คือ เมื่อวางใจเปนกลางตอสังขารทั้งหลาย ไมพะวง และญาณแลนมุงตรงไปสูนิพพานแลว ญาณ อันคลอยตอการตรัสรูอริยสัจจ ยอมเกิดขึ้นในลําดับถัดไป เปนขั้นสุดทายของวิปสสนาญาณ ตอ จากนั้นก็จะเกิดโคตรภูญาณมาคั่นกลาง แลวเกิดมรรคญาณใหสําเร็จความเปนอริยบุคคลตอไป — Anuloma¤àõa : conformity-knowledge; adaptation-knowledge)

ธรรมหมวดนี้ ทานปรุงศัพทขึ้น โดยถือตามนัยแหงคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค นํามาอธิบาย พิสดารในวิสุทธิมรรค แตในอภิธัมมัตถสังคหะ ทานเติม สัมมสนญาณ (ญาณที่กําหนดพิจารณา นามรูป คือ ขันธ 5 ตามแนวไตรลักษณ — Sammasana¤àõa : comprehension-knowledge) เขามาเปนขอที่ 1 จึงรวมเปน วิปสสนาญาณ 10 และเรียกชื่อญาณขออื่นๆ สั้นกวานี้ คือ เรียก อุทยัพพยญาณภังคญาณ ภยญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ มุญจิตุ กัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุ เปกขาญาณ อนุโลมญาณ

ดู [285]วิสุทธิ 7; [345]ญาณ 16