ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 34
[คลิก]
คำศัพท์ : จริต ๖, จริยา ๖
จริต หรือ จริยา 6 (ความประพฤติปกติ, ความประพฤติซึ่งหนักไปทางใดทางหนึ่ง อันเปนปกติประจําอยูในสันดาน, พื้นเพของจิต, อุปนิสัย, พื้นนิสัย, แบบหรือประเภทใหญๆ แหงพฤติกรรมของคน — Carita, Cariyà : intrinsic nature of a person; characteristic behaviour; character; temperament) ตัวความประพฤติเรียกวา จริ ยา บุคคลผูมีความประพฤติอยางนั้นๆ เรียกวา จริต
1.ราคจริต (ผูมีราคะเปนความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางรักสวยรักงาม — Ràgacarita : one of lustful temperament) กรรมฐานคูปรับสําหรับแก คือ อสุภะและกายคตาสติ
2.โทสจริต (ผูมีโทสะเปนความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางใจรอนหงุดหงิด — Dosacarita : one of hating temperament) กรรมฐานที่เหมาะ คือ พรหมวิหารและกสิณ โดย เฉพาะวัณณกสิณ
3.โมหจริต (ผูมีโมหะเปนความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางเขลา เหงาซึม เงื่องงง งมงาย — Moha-carita : one of deluded temperament) กรรมฐานที่เกื้อกูล คือ อานาปานสติ และพึงแกดวยมีการเรียน ถาม ฟงธรรม สนทนาธรรมตามกาล หรืออยูกับครู
4.สัทธาจริต (ผูมีศรัทธาเปนความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางมีจิตซาบซึ้ง ชื่นบาน นอมใจเลื่อมใสโดยงาย — Saddhà-carita : one of faithful temperament) พึงชักนําไปใน สิ่งที่ควรแกความเลื่อมใส และความเชื่อที่มีเหตุผล เชน พิจารณาอนุสติ 6 ขอตน
5.พุทธิจริต หรือ ญาณจริต (ผูมีความรูเปนความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางใช ความคิดพิจารณา — Buddhi-carita or ¥àõacarita: one of intelligent temperament) พึงสงเสริมดวยแนะนําใหใชความคิดในทางที่ชอบ เชน พิจารณาไตรลักษณ กรรมฐานที่เหมาะ คือ มรณสติ อุปสมานุสติ จตุธาตุววัฏฐาน และอาหาเรปฏิกูลสัญญา
6.วิตกจริต (ผูมีวิตกเปนความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางนึกคิดจับจดฟุงซาน — Vitakka-carita : one of speculative temperament) พึงแกดวยสิ่งที่สะกดอารมณ เชน เจริญอานาปานสติ หรือเพงกสิณ เปนตน