คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 34 [คลิก]
คำศัพท์ : ปฏิจจสมุปบาท ๑๒

ปฏิจจสมุปบาท มีองคหรือหัวขอ 12 (การเกิดขึ้นพรอมแหงธรรมทั้งหลาย เพราะอาศัยกัน, ธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นพรอม, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันๆ จึงเกิดมีขึ้น — Pañ icca-samuppàda: the Dependent Origination; conditioned arising)
1.–2. อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา เพราะ อวิชชา เปนปจจัย สังขาร จึงมี (Dependent on Ignorance arise Kamma-Formations.)
3.สงฺขารปจฺจยา วิฺาณํ เพราะสังขารเปนปจจัย วิญญาณ จึงมี (Dependent on Kamma-Farmations arises Consciousness.)
4.วิฺาณปจฺจยา นามรูป เพราะวิญญาณเปนปจจัย นามรูป จึงมี (Dependent on Consciousness arise Mind and Matter.)
5.นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ เพราะนามรูปเปนปจจัย สฬายตนะ จึงมี (Dependent on Mind and Matter arise the Six Sense-Bases.)
6.สฬายตนปจฺจยา ผสฺโส เพราะสฬายตนะเปนปจจัย ผัสสะ จึงมี (Dependent on the Six Sense-Bases arises Contact.)
7.ผสฺสปจฺจยา เวทนา เพราะผัสสะเปนปจจัย เวทนา จึงมี (Dependent on Contact arises Feeling.)
8.เวทนาปจฺจยา ตณฺหา เพราะเวทนาเปนปจจัย ตัณหา จึงมี (Dependent on Feeling arises Craving.)
9.ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ เพราะตัณหาเปนปจจัย อุปาทาน จึงมี (Dependent on Craving arises Clinging.)
10. อุปาทานปจฺจยา ภโว เพราะอุปาทานเปนปจจัย ภพ จึงมี (Dependent on Clinging arises Becoming.)
11. ภวปจฺจยา ชาติ เพราะภพเปนปจจัย ชาติ จึงมี (Dependent on Becoming arises Birth.)
12. ชาติปจฺจยา ชรามรณํ เพราะชาติเปนปจจัย ชรามรณะ จึงมี (Dependent on Birth arise Decay and Death.)

โสกปริ เทวทุกฺ โทมนส ฺ สุปายาสา สม ฺ ภวนฺ ติ

ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข โทมนัส และความคับแคนใจ ก็มีพรอม

There also arise sorrow, lamentation, pain, grief and despair.)

เอวเมตส ฺ สเกวลส ฺ สทุกฺขก ฺ ขนฺธสฺส สมุทโย โหติ.

ความเกิดขึ้นแหงกองทุกขทั้งปวงนี้ จึงมีดวยประการฉะนี้

(Thus arises this whole mass of suffering.)

แสดงตามลําดับ จากตนไปหาปลายอยางนี้ เรียกวา อนุโลมเทศนา (teaching in forward order) ถาแสดงยอนกลับจากปลายมาหาตน วา ชรามรณะเปนตน มีเพราะชาติเปนปจจัย ชาติมี เพราะภพเปนปจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเปนปจจัย เรียกวา ปฏิโลมเทศนา (teaching in backward order)

องค (factors) หรือหัวขอ 12 นั้น มีความหมายโดยสังเขป ดังนี้
1.อวิชชา (Avijjà: ignorance) ความไมรู คือไมรูในอริยสัจจ 4 หรือตามนัยอภิธรรมวา อวิชชา 8 ดู [208]อวิชชา 4; [209]อวิชชา 8
2.สังขาร (Saïkhàra: kamma-formations) สภาพที่ปรุงแตง ไดแก [120]สังขาร 32หรือ [129]อภิสังขาร 3
3.วิญญาณ (Vi¤¤àõa: consciousness) ความรูแจงอารมณ ไดแก [268]วิญญาณ 6
4.นามรูป (Nàma-råpa: mind and matter) นามและรูป ไดแก เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ หรือตามนัยอภิธรรมวา นามขันธ 3 + รูป ดู [216]ขันธ 5 (ขอ 2, 3, 4); [38]รูป 21 , 28; [39]มหาภูต หรือ ภตรูป 4; [40]อุปาทารูป หรือ อุปาทายรูป 24; [41]รูป 22
5.สฬายตนะ (Saëàyatana: six sense-bases) อายตนะ 6 ไดแก [276]อายตนะภายใน 6
6.ผัสสะ (Phassa: contact) ความกระทบ, ความประจวบ ไดแก [272]สัมผัส 6
7.เวทนา (Vedanà: feeling) ความเสวยอารมณ ไดแก [113]เวทนา 6
8.ตัณหา (Taõhà: craving) ความทะยานอยาก ไดแก ตัณหา 6 มีรูปตัณหา เปนตน (ตัณหา ในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในสัมผัสทางกาย และในธรรมารมณ) ดู [74]ตัณหา 3 ดวย
9.อุปาทาน (Upàdàna: clinging; attachment) ความยึดมั่น ไดแก [214]อุปาทาน 4
10. ภพ (Bhava: becoming) ภาวะชีวิต ไดแก [98]ภพ 3 อีกนัยหนึ่งวา ไดแก กรรมภพ (ภพ คือกรรม — active process of becoming ตรงกับ [129]อภิสังขาร 3 ) กับ อุปปตติภพ (ภพคือที่อุบัติ — rebirth-process of becoming ตรงกับ [98]ภพ 3 )
11. ชาติ (Jàti: birth) ความเกิด ไดแก ความปรากฏแหงขันธทั้งหลาย การไดอายตนะ
12. ชรามรณะ (Jarà-maraõa: decay and death) ความแกและความตาย ไดแก ชรา (ความเสื่อมอายุ, ความหงอมอินทรีย) กับมรณะ (ความสลายแหงขันธ, ความขาดชีวิตินทรีย)

ทั้ง 12 ขอ เปนปจจัยตอเนื่องกันไป หมุนเวียนเปนวงจร ไมมีตนไมมีปลาย เรียกวา ภวจักร (วงลอหรือวงจรแหงภพ — Bhava-cakka: wheel of existence) และมีขอควรทราบเกี่ยวกับ ภวจักรอีกดังนี้
ก.อัทธา 3 (Addhà: periods; times) คือ กาล 3 ไดแก

1) อดีต = อวิชชา สังขาร

2) ปจจุบัน = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ

3) อนาคต = ชาติ ชรา มรณะ (+ โสกะ ฯลฯ)
ข.สังเขป หรือ สังคหะ 4 (Saïkhepa or Saïgaha: sections; divisions) คือ ชวง หมวด หรือ กลุม 4 ไดแก

1) อดีตเหตุ = อวิชชา สังขาร

2) ปจจุบันผล = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา

3) ปจจุบันเหตุ = ตัณหา อุปาทาน ภพ

4) อนาคตผล = ชาติ ชรามรณะ (+ โสกะ ฯลฯ)
ค. สนธิ 3 (Sandhi: links; connection) คือ ขั้วตอ ระหวางสังเขปหรือชวงทั้ง 4 ไดแก

1) ระหวาง อดีตเหตุ กับ ปจจุบันผล

2) ระหวาง ปจจุบันผล กับ ปจจุบันเหตุ

3) ระหวาง ปจจุบันเหตุ กับ อนาคตผล

ง.วัฏฏะ 3 ดู [105]วัฏฏะ 3
จ.อาการ 20 (âkàra: modes; spokes; qualities) คือ องคประกอบแตละอยาง อันเปนดุจ กําของลอ จําแนกตามสวนเหตุ (causes) และสวนผล (effects) ไดแก

1) อดีตเหตุ 5 = อวิชชา สังขาร ตัณหา อุปาทาน ภพ

2) ปจจุบันผล 5 = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา

3) ปจจุบันเหตุ 5 = อวิชชา สังขาร ตัณหา อุปาทาน ภพ

4) อนาคตผล 5 = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา อาการ 20 นี้ ก็คือ หัวขอที่กระจายใหเต็ม ในทุกชวงของสังเขป 4 นั่นเอง
ฉ. มูล 2 (Måla: roots) คือ กิเลสที่เปนตัวมูลเหตุ ซึ่งกําหนดเปนจุดเริ่มตนในวงจรแตละชวง ไดแก

1) อวิชชา เปนจุดเริ่มตนในชวงอดีต สงผลถึงเวทนาในชวงปจจุบัน

2) ตัณหา เปนจุดเริ่มตนในชวงปจจุบัน สงผลถึงชรามรณะในชวงอนาคต

พึงสังเกตดวยวา การกลาวถึงสวนประกอบของภวจักรตามขอ ก. ถึง ฉ. นี้ เปนคําอธิบายในคัมภีรรุนหลัง เชน อภิธัมมัตถสังคหะ เปนตน

การแสดงหลักปฏิจจสมุปบาท ใหเห็นความเกิดขึ้นแหงธรรมตางๆ โดยอาศัยปจจัยสืบทอดกัน ไปอยางนี้ เปน สมุทยวาร คือฝายสมุทัย ใชเปนคําอธิบายอริยสัจจขอที่ 2 (สมุทัยสัจจ) คือ แสดง ใหเห็นความเกิดขึ้นแหงทุกข ปฏิจจสมุปบาทที่แสดงแบบนี้ เรียกวา อนุโลมปฏิจจสมุปบาท (direct Dependent Origination)

การแสดงในทางตรงขามกับขางตนนี้ เปน นิโรธวาร คือฝายนิโรธ ใชอธิบายอริยสัจจขอที่ 3 (นิโรธสัจจ) เรียกวา ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท (reverse Dependent Origination ซึ่งความจริงก็ คือ Dependent Extinction นั่นเอง) แสดงใหเห็นความดับไปแหงทุกข ดวยอาศัยความดับไป แหงปจจัยทั้งหลายสืบทอดกันไป ตัวบทของปฏิจจสมุปบาทแบบปฏิโลมนี้ พึงเทียบจากแบบอนุโลมนั่นเอง เชน
1.–2. อวิชฺชาย เตฺวว อเสสวิราคนิโรธา สงฺขารนิโรโธ เพราะอวิชชาสํารอกดับไปไมเหลือ สังขารจึงดับ
(Through the total fading away and cessation of ignorance, cease kammaformations.)
3. สงฺขารนิโรธา วิฺาณนิโรโธ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ
(Through the cessation of kamma-formations, ceases consciousness.)

ฯลฯ


12. ชาตินิโรธา ชรามรณํ เพราะชาติดับ ชรามรณะ (จึงดับ)

(Through the cessation of birth, cease decay and death.)

โสกปริเทวทุกฺขโทมนส ฺ สุปายาสานิรุชฺฌนฺติ

ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข โทมนัส ความคับแคนใจ ก็ดับ

(Also cease sorrow, lamentation, pain, grief and despair.)

เอวเมตส ฺ สเกวลส ฺ สทุกฺขก ฺ ขนฺธสฺส นิโรโธโหติ.

ความดับแหงกองทุกขทั้งปวงนี้ ยอมมีดวยประการฉะนี้

(Thus comes about the cessation of this whole mass of suffering.)

นี้เปน อนุโลมเทศนา ของปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท สวน ปฏิโลมเทศนา ก็พึงแสดงยอนวา ชรา มรณะ เปนตน ดับ เพราะชาติดับ ชาติดับเพราะภพดับ ฯลฯ สังขารดับเพราะอวิชชาดับ อยาง เดียวกับในอนุโลมปฏิจจสมุปบาท

ปฏิจจสมุปบาทนี้ มีชื่อเรียกอยางอื่นอีก ที่สําคัญคือ อิทัปปจจยตา (ภาวะที่มีอันนี้ๆ เปนปจจัย — Idappaccayatà: specific conditionality) ธรรมนิยาม (ความเปนไปอันแนนอนแหงธรรมดา, กฎธรรมชาติ — Dhammaniyàma: orderliness of nature; natural law) และ ปจจยาการ (อาการที่สิ่งทั้งหลายเปนปจจัยแกกัน — Paccayàkàra: mode of conditionality; structure of conditions) เฉพาะชื่อหลังนี้เปนคําทนี่ิยมใชในคัมภรีอภิธรรม และคัมภรีรุนอรรถกถา.