คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 34 [คลิก]
คำศัพท์ : พละ ๔

พละ 4 (ธรรมอันเปนกําลัง, ธรรมอันเปนพลังทําใหดําเนินชีวิตดวยความมั่นใจ ไม หวั่นตอภัยทุกอยาง — Bala: strength; force; power)
1.ปญญาพละ (กําลังปญญา — Pa¤¤à-bala: power of wisdom)
2.วิริยพละ (กําลังความเพียร — Viriya-bala: power of energy or diligence)
3.อนวัชชพละ (กําลังสุจริต หรือ กําลังความบริสุทธิ์, ตามศัพทแปลวา กําลังการกระทําที่ไมมี โทษ คือ มีกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมบริสุทธิ์ เชนมีความประพฤติและหนาที่การงานสุจริต ไมมีขอบกพรองเสียหาย พูดจริง มีเหตุผล มุงดี ไมรุกรานใหรายใคร ทําการดวยเจตนาบริสุทธิ์ — Anavajja-bala: power of faultlessness, blamelessness or cleanliness)
4.สังคหพละ (กําลังการสงเคราะห คือ การยึดเหนี่ยวน้ําใจคนและประสานหมูชนไวในสามัคคี — Saïgaha-bala: power of sympathy or solidarity) สงเคราะหดวยสังคหวัตถุ 4 คือ
4.1 ทาน (การใหปน โดยปกติหมายถึง ชวยเหลือในดานทุนหรือปจจัยเครื่องยังชีพ ตลอดจน เผื่อแผกันดวยไมตรี อยางเลิศหมายถึงธรรมทาน คือ แนะนําสั่งสอนใหความรูความเขาใจ จน เขารูจักพึ่งตนเองได — Dàna: gift; charity; benefaction)
4.2 เปยยวัชชะ (พูดจับใจ, = ปยวาจา คือ พูดดวยน้ำใจหวังดี มุงใหเปนประโยชน และรูจัก พูดใหเปนผลดี ทําใหเกิดความเชื่อถือ สนิทสนม และเคารพนับถือกัน อยางเลิศหมายถึง หมั่น แสดงธรรม คอยชวยชี้แจงแนะนําหลักความจริง ความถูกตองดีงาม แกผูที่ตองการ — Peyyavajja: kindly speech)
4.3 อัตถจริยา (บําเพ็ญประโยชน คือ ชวยเหลือรับใช ทํางานสรางสรรค ประพฤติการที่เปนประโยชน อยางเลิศหมายถึง ชวยเหลือสงเสริมคนใหมีความเชื่อถือถูกตอง (สัทธาสัมปทา) ให ประพฤติดีงาม (สีลสัมปทา) ใหมีความเสียสละ (จาคสัมปทา) และใหมีปญญา (ปญญาสัมปทา) — Atthacariyà: friendly aid; doing good; life of service)
4.4 สมานัตตตา (มีตนเสมอ คือ เสมอภาค ไมเอาเปรียบ ไมถือสูงต่ำ รวมสุขรวมทุกขดวย อยางเลิศหมายถึง มีความเสมอกันโดยธรรม เชน พระโสดาบันมีตนเสมอกับพระโสดาบัน เปนตน — Samànattatà: equality; impartiality; participation)

พละหมวดนี้ เปนหลักประกันของชีวิต ผูประพฤติธรรม 4 นี้ยอมดําเนินชีวิตดวยความมั่น ใจ เพราะเปนผูมีพลังในตน ยอมขามพนภัยทั้ง 5 คือ
1.อาชีวิตภัย (ภัยเนื่องดวยการครองชีพ — fear of troubles about livelihood)
2.อสิโลกภัย (ภัยคือความเสื่อมเสียชื่อเสียง — fear of ill-fame)
3.ปริสสารัชชภัย (ภัยคือความครั่นครามเกอเขินในที่ชุมนุม — fear of embarrassment in assemblies)
4.มรณภัย (ภัยคือความตาย — fear of death) 5.ทุคคติภัย (ภัยคือทุคติ — fear of a miserable life after death)

ดู [186] สังคหวัตถุ 4.