คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 34 [คลิก]
คำศัพท์ : สุขของคฤหัสถ์ ๔

สุขของคฤหัสถ หรือ คิหิสุข หรือ กามโภคีสุข 4 (สุขของชาวบาน, สุขที่ชาวบานควรพยายามเขาถึงใหไดสม่ำเสมอ, สุขอันชอบธรรมที่ผูครองเรือนควรมี — Gihisukha: house-life happiness; deserved bliss of a layperson)
1.อัตถิสุข (สุขเกิดจากความมีทรัพย คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ วาตนมีโภคทรัพยที่ไดมาดวย น้ำพักน้ำแรงความขยันหมั่นเพียรของตน และโดยชอบธรรม — Atthisukha: bliss of ownership; happiness resulting from economic security)
2.โภคสุข (สุขเกิดจากการใชจายทรัพย คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ วาตนไดใชทรัพยที่ไดมาโดย ชอบนั้น เลี้ยงชีพ เลี้ยงผูควรเลี้ยง และบําเพ็ญประโยชน — Bhogasukha: bliss of enjoyment; enjoyment of wealth)
3.อนณสุข (สุขเกิดจากความไมเปนหนี้ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ วาตนเปนไท ไมมีหนี้สินติด คางใคร — Anaõasukha: bliss of debtlessness; happiness on account of freedom from debt)
4.อนวัชชสุข ( สุขเกิดจากความประพฤติไมมีโทษ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ วาตนมีความ ประพฤติสุจริต ไมบกพรองเสียหาย ใครๆ ติเตียนไมได ทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ — Anavajjasukha: bliss of blamelessness; happiness on account of leading a faultless life) บรรดาสุข 4 อยางนี้ อนวัชชสุข มีคามากที่สุด