คำศัพท์ :
ภูมิ ๓๑ภูมิ 4 หรือ
31 (ชั้นแหงจิต, ระดับจิตใจ, ระดับชีวิต — Bhåmi: planes of existence; planes of life)
1. อบายภูมิ 4 (ภูมิที่ปราศจากความเจริญ — Apàya-bhåmi: planes of loss and woe; unhappy planes)
1) นิรยะ (นรก — Niraya: woeful state; hell)
2) ติรัจฉานโยนิ (กําเนิดดิรัจฉาน — Tiracchànayoni: animal kingdom)
3) ปตติวิสัย (แดนเปรต — Pittivisaya: ghost-sphere)
4) อสุรกาย (พวกอสูร — Asurakàya: host of demons)
2. กามสุคติภูมิ 7 (กามาวจรภูมิที่เปนสุคติ, ภูมิที่เปนสุคติซึ่งยังเกี่ยวของกับกาม — Kàmasugatibhåmi: sensuous blissful planes)
1) มนุษย (ชาวมนุษย — Manussà: human realm)
2) จาตุมหาราชิกา (สวรรคชั้นที่ทาวมหาราช 4 ปกครอง — Càtummahàràjikà: realm of the Four Great Kings)
3) ดาวดึงส (แดนแหงเทพ 33 มีทาวสักกะเปนใหญ — Tàvati§sà: realm of the Thirty-three Gods)
4) ยามา (แดนแหงเทพผูปราศจากความทุกข — Yàmà: realm of the Yàma gods)
5) ดุสิต (แดนแหงเทพผูเอิบอิ่มดวยสิริสมบัติของตน — Tusità: realm of satisfied gods)
6) นิมมานรดี (แดนแหงเทพผูยินดีในการเนรมิต — Nimmànaratã: realm of the gods who rejoice in their own creations)
7) ปรนิมมิตวสวัตดี (แดนแหงเทพผูยังอํานาจใหเปนไปในสมบัติที่ผูอื่นนิรมิตให — Paranimmitavasavattã: realm of gods who lord over the creation of others)
ภูมิทั้ง 11 ใน 2 หมวดนี้ รวมเปน
กามาวจรภูมิ 11 (ชั้นที่ทองเที่ยวอยูในกาม — Kàmàvacarabhåmi: Sensuous Planes)
3. รูปาวจรภูมิ 16 (ชั้นที่ทองเที่ยวอยูในรูป, ชั้นรูปพรหม — Råpàvacara-bhåmi: Form Planes)
ก . ปฐมฌานภูมิ 3 (ระดับปฐมฌาน — first-Jhàna planes)
1) พรหมปาริสัชชา (พวกบริษัทบริวารมหาพรหม — Brahmapàrisajjà: realm of great Brahmas’ attendants)
2) พรหมปุโรหิตา (พวกปุโรหิตมหาพรหม — Brahmapurohità: realm of great Brahmas’ ministers)
3) มหาพรหมา (พวกทาวมหาพรหม — Mahàbrahmà: realm of great Brahmas)
ข . ทุติยฌานภููมิ 3 (ระดับทุติยฌาน — second-Jhàna planes)
4) ปริตตาภา (พวกมีรัศมีนอย — Parittàbhà: realm of Brahmas with limited lustre)
5) อัปปมาณาภา (พวกมีรัศมีประมาณไมได — Appamàõàbhà: realm of Brahmas with infinite lustre)
6) อาภัสสรา (พวกมีรัศมีสุกปลั่งซานไป — âbhassarà: realm of Brahmas with radiant lustre)
ค. ตติยฌานภูมิ 3 (ระดับตติยฌาน — third-Jhàna planes)
7) ปริตตสุภา (พวกมีลํารัศมีงามนอย — Parittasubhà: realm of Brahmas with limited aura)
8) อัปปมาณสุภา (พวกมีลํารัศมีงามประมาณมิได — Appamàõasubhà: realm of Brahmas with infinite aura)
9) สุภกิณหา (พวกมีลํารัศมีงามกระจางจา — Subhakiõhà: realm of Brahmas with steady aura)
ง. จตุตถฌานภูมิ 3–7 (ระดับจตุตถฌาน — fourth-Jhàna planes)
10) เวหัปผลา (พวกมีผลไพบูลย — Vehapphalà: realm of Brahmas with
abundant reward)
11) อสัญญีสัตว (พวกสัตวไมมีสัญญา — Asa¤¤ãsattà: realm of non-percipient beings)
(*) สุทาวาส 5 (พวกมีที่อยูอันบริสุทธิ์ หรือ ที่อยูของทานผูบริสุทธิ์ คือ ที่เกิดของ พระอนาคามี — Suddhàvàsa: pure abodes) คือ
12) อวิหา (เหลาทานผูไมเสื่อมจากสมบัติของตน หรือผูไมละไปเร็ว, ผูคงอยูนาน — Avihà: realm of Brahmas who do not fall from prosperity)
13) อตัปปา (เหลาทานผูไมทําความเดือดรอนแกใคร หรือผูไมเดือดรอนกับใคร — Atappà: realm of Brahmas who are serene)
14) สุทัสสา (เหลาทานผูงดงามนาทัศนา — Sudassà: realm of Brahmas who are beautiful)
15) สุทัสสี (เหลาทานผูมองเห็นชัดเจนดี หรือผูมีทัศนาแจมชัด — Sudassã: realm of Brahmas who are clear-sighted)
16) อกนิฏฐา (เหลาทานผูไมมีความดอยหรือเล็กนอยกวาใคร, ผูสูงสุด — Akaniññhà: realm of the highest or supreme Brahmas)
4. อรูปาวจรภูมิ 4 (ชั้นที่ทองเที่ยวอยูในอรูป, ชั้นอรูปพรหม — Aråpàvacara-bhåmi: formless planes)
1) อากาสานัญจายตนภูมิ (ชั้นที่เขาถึงภาวะมีอากาศไมมีที่สุด — âkàsàna¤càyatanabhåmi: realm of infinite space)
2) วิญญาณัญจายตนภูมิ (ชั้นที่เขาถึงภาวะมีวิญญาณไมมีที่สุด — Vi¤¤àõa¤càyatanabhåmi: realm of infinite consciousness)
3) อากิญจัญญายตนภูมิ ( ชั้นที่เขาถึงภาวะไมมีอะไร — âki¤ca¤¤àyatana-bhåmi: realm of nothingness)
4) เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ (ชั้นที่เขาถึงภาวะมีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ไมใช — Nevasa¤¤ànàsa¤¤àyatana-bhåmi: realm of neither perception nor nonperception)
ปุถุชน พระโสดาบัน และพระสกทาคามี ยอมไมเกิดในสุทธาวาสภูมิ; พระอริยะไมเกิดใน อสัญญีภพ และในอบายภูมิ; ในภูมินอกจากนี้ ยอมมีทั้งพระอริยะและมิใชอริยะไปเกิด.
ในพระไตรปฎก ไมพบที่ใดแสดงรายชื่อภูมิทั้งหลายไวทั้งหมดในที่เดียว บาลีแสดงรายชื่อ ภูมิมากที่สุด (มีเฉพาะชั้นสุคติภูมิ) พบที่ ม.อุ.14/317-332/216-225 (M.III.99–103) กลาวตั้งแตมนุษย ขึ้นไปจนถึงอรูปาวจรภูมิ.
ในบาลีแหงทีฆนิกาย เปนตน* แสดง คติ (ที่ไปเกิดของสัตว, แบบการดําเนินชีวิต — Gati: destiny; course of existence) วามี 5 คือ นิรยะ ติรัจฉานโยนิ เปตติวิสัย มนุษยและ เทพ (พวกเทพ — heavenly world ไดแกภูมิ 26 ตั้งแตจาตุมหาราชิกาขึ้นไปทั้งหมด) จะเห็นวาภูมิ 31 สงเคราะหลงไดในคติ 5 ทั้งหมด ขาดแตอสุรกาย อยางไรก็ดี ในอรรถกถาแหงอิติวุตตกะ เปนตน** ทานกลาววา อสูร สงเคราะหลงในเปตติวิสัยดวย จึงเปนอันสงเคราะหลงไดบริบูรณ และในคติ 5 นั้น 3 คติแรกจัดเปน ทุคติ (woeful courses) 2 คติหลังเปน สุคติ (happy courses).
เนื่องดวยภูมิ 31 นี้จัดไดเปน 4 ระดับอยางที่กลาวมา บางทีจึงเรียกวา ภูมิ 4
อนึ่ง พึงเทียบภูมิ 31 หรือ ภูมิ 4 หมวดนี้ กับ [162]ภูมิ 4 ที่มาในพระบาลีดวย กลาวคือ ภูมิ 31 หรือ 4 หมวดนี้ จัดเขาในภูมิ 3 ขอตนใน [162]ภูมิ 4 ดังนี้ อบายภูมิ 4 และ กามสุคติภูมิ 7 รวมเขาเปนกามาวจรภูมิ (11) สวนรูปาวจรภูมิ (16) และ อรูปาวจรภูมิ (4) ตรงกัน รวม ภูมิทั้งหมด 31 นี้ เปนโลกียภูมิ พนจากนี้ไปเปนโลกุตตรภูมิ
ดู [162]ภูมิ 4; [198]อบาย 4; [207]อรูป 4; [270]สวรรค 6.