คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ พิมพ์ครั้งที่ 31 [คลิก]
คำศัพท์ : ทักขิณา, ทักษิณา

ทานที่ถวายเพื่อผล อันดีงาม, ของทําบุญ, สิ่งที่สละให, ปจจัยสี่ที่เมื่อถวายจะเปนเหตุให ประโยชนสุขเจริญเพิ่มพูน, ของถวายที่ ชวยใหสัตวทั้งหลายเจริญดวยสมบัติดัง ปรารถนา, สิ่งที่ใหโดยเชื่อกรรมและผล แหงกรรม (หรือโดยเชื่อปรโลก); “ทักขิณา” เดิมเปนคําที่ใชในศาสนา พราหมณ ( เขียนอยางสันสกฤต เปน “ทักษิณา”) หมายถึง ของที่มอบใหแก พราหมณ เปนคาตอบแทนในการ ประกอบพิธีบูชายัญ เมื่อนํามาใชในพระ พุทธศาสนา นิยมหมายถึงปจจัย ๔ ที่ ถวายแกพระภิกษุสงฆ หรือใหแก ทักขิไณยบุคคล ซึ่งในความหมายอยาง สูง ไดแกพระอริยสงฆ และในความ หมายที่กวางออกไป ไดแก ทานผูมีศีล ผูทรงคุณทรงธรรม แมเปนคฤหัสถ เชน บิดามารดา ตลอดจนในความหมาย อยางกวางที่สุด ของที่ใหเพื่อชวยเหลือ เกื้อกูล แมแตใหแกสัตวดิรัจฉาน ก็เปน ทักขิณา (ดังที่ตรัสในทักขิณาวิภังคสูตร, ม.อุ.14/710/458) แตมีผลมากนอยตางกันตาม หลักทักขิณาวิสุทธิ์ ๔ และตรัสไวอีก แหงหนึ่งวา (ทานสูตร, อง.ฉกฺก.22/308/375) ทักขิณาที่พรอมดวยองค ๖ คือ ทายก มีองค ๓ (กอนให ก็ดีใจ, กําลังใหอยู ก็ ทําจิตใหผุดผองเลื่อมใส, ครั้นใหแลว ก็ ชื่นชมปลื้มใจ) และปฏิคาหกมีองค ๓ (เปนผูปราศจากราคะหรือปฏิบัติเพื่อ บําราศราคะ, เปนผูปราศจากโทสะหรือ ปฏิบัติเพื่อบําราศโทสะ, เปนผูปราศจาก โมหะหรือปฏิบัติเพื่อบําราศโมหะ) ทักขิณานั้นเปนบุญยิ่งใหญ มีผลมากยาก จะประมาณได
ดู เจตนา, ทักขิณาวิสุทธิ์