คำศัพท์ :
ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ พิมพ์ครั้งที่ 31 [คลิก]
คำศัพท์ : ทักขิณาบถ

“หนใต” (เขียนอยาง สันสกฤต=ทักษิณาบถ), ดินแดนแถบ ใตของชมพูทวีป, อินเดียภาคใต คูกับ อุตราบถ ( ดินแดนแถบเหนือของชมพู ทวีป หรืออินเดียภาคเหนือ), ในอรรถกถา มีคําอธิบายซึ่งใหถือแมน้ําคงคา เปนเสนแบง คือ ดินแดนแถบฝงเหนือ ของแมน้ําคงคา เปนอุตราบถ สวนดิน แดนแถบฝงใตของแมน้ําคงคา เปนทักขิณาบถ และกลาววา อุตราบถเปน ปฏิรูปเทส แตทักขิณาบถไมเปนปฏิรูป เทส, คําอธิบายนั้นคงถือตามสภาพความ เจริญสมัยโบราณ แตที่รูกันทั่วไปตอถึง ยุคปจจุบัน ถือแมน้ํานัมมทาเปนเสนแบง คือ ดินแดนแถบเหนือแมน้ํานัมมทาขึ้น มา เปนอุตราบถ สวนดินแดนแถบใต แมน้ํานัมมทาลงไป เปนทักขิณาบถ ดังที่ เรียกในบัดนี้วา Deccan อันเพี้ยนจาก Dekkhan หรือ Dekhan ซึ่งมาจาก Dakkhina นั่นเอง
ดู อวันตี

เทียบ อุตราบถ