| |
บันทึกที่ ๔:ความหมายตามแบบแผน ของไตรสิกขา  |   |  

ไตรสิกขา ถาแปลตามรูปศัพท และตามแบบแผนแทๆ จะไดความหมายดังนี้

๑. อธิศีลสิกขา สิกขาคือศีลอันยิ่ง, ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมในทางความประพฤติอยางสูง

๒. อธิจิตตสิกขา สิกขาคือจิตอันยิ่ง, ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมจิตใหเกิดสมาธิอยางสูง

๓. อธิปัญญาสิกขา สิกขาคือปญญาอันยิ่ง, ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมปญญาเพื่อใหเกิดความรูแจงอยางสูง

บาลีเดิมแสดงคำจำกัดความไตรสิกขาสำหรับพระภิกษุเท่านั้น คือ อธิศีลสิกขา = ปาติโมกขสังวรศีล, อธิจิตตสิกขา = ฌาน ๔, อธิปัญญาสิกขา = การรู้อริยสัจ บ้าง การประจักษ์แจ้งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ ที่ไร้อาสวะ บ้าง (องฺ.ติก.20/529-530/303) คัมภีร์นิทเทสขยายความเพิ่มออกเล็กน้อย (ขุ.ม.29/242/181; ขุ.จู.30/92/25);


เกี่ยวกับพุทธธรรมออนไลน์ (Disclaimer)
"เนื้อหาที่เผยแพร่ในระบบ "พุทธธรรม ออนไลน์" นี้ เป็นเนื้อหาที่มีการปรับปรุงเพิ่มเติมหลังการพิมพ์ครั้งที่ ๕๓ เพื่อช่วยในการศึกษาค้นคว้าของผู้สนใจ โดยยังมิได้ผ่านการตรวจสอบของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ประกอบกับหนังสือพุทธธรรมนี้ มีการปรับปรุงเพิ่มเติมเป็นระยะ แม้ระบบ "พุทธธรรม ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |