ไปยังหน้า : |
ตอไปนี้เปนเพียงคําอธิบายเบ็ดเตล็ด เพื่อย้ำบาง เสริมบาง ในบางจุดบางแงของเรื่องมรรค กับสิกขา
ไตรสิกขานั้นถือกันวาเปนระบบการปฏิบัติธรรมที่ครบถวนสมบูรณ มีขอบเขตครอบคลุมมรรคทั้งหมด เปนการฝกหรือเปนระบบปฏิบัติการที่จะใหเนื้อหาของมรรคเกิดมีเปนจริงขึ้นจนกระทั่งบริบูรณ จึงเปนหมวด ธรรมมาตรฐาน สําหรับแสดงหลักการปฏิบัติธรรม และมักใชเปนแมบทในการบรรยายวิธีปฏิบัติธรรม
ขอย้ำคําวา “มรรคมีองค์ ๘” มีความหมายชัดเจนอยูแลววา หมายถึงทางสายเดียว มีสวนประกอบ ๘ อยาง เปรียบเหมือนทางหลวงที่สมบูรณ ตองมีอะไรหลายอยางประกอบกันเขาจึงสําเร็จเปนถนนได เชน มีดิน กรวด ทราย หิน ลูกรัง ยาง หรือคอนกรีต เปนชั้นลําดับขึ้นมา จนถึงผิวทาง รวมเปนตัวถนนหรือพื้นถนน มีขอบ คัน เสนแนว ความเอียงเทของที่ลาดชันโคงเลี้ยว มีสัญญาณ เครื่องหมาย ปายบอกทิศทาง ระยะทาง และ สถานที่เปนตน ตลอดจนแผนที่ทางและโคมไฟในยามค่ำคืน
ถนนประกอบดวยสวนประกอบเหลานี้ทั้งหมด และผูขับรถเดินทาง ยอมอาศัยสวนประกอบเหลานี้ทุก อยางไปพรอมๆ กัน ฉันใด มรรคก็ประกอบขึ้นดวยองค ๘ ประการรวมกัน และผูปฏิบัติธรรม ก็ตองใชองคทั้ง ๘ ของมรรคเนื่องไปดวยกันโดยตลอด ฉันนั้น
ทั้งนี้ โดยจัด สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ เขาเปนหมวดศีล เหมือนดังจัดกองดินที่กอ แนนขึ้นพรอมทั้งหินกรวดทรายวัสดุผิวจราจรที่เปนตัวถนนหรือพื้นถนนเขาเปนพวกหนึ่ง จัดสัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เขาเปนหมวดสมาธิ เหมือนดังจัดขอบกั้น คันถนน เสนแนวโคงเลี้ยว เปนตน ที่เปน เครื่องกํากับแนวถนน เปนพวกหนึ่ง จัดสัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ เขาเปนหมวดปัญญา เหมือนดังจัด สัญญาณ เครื่องหมาย ปาย โคมไฟ เปนตน เปนอีกพวกหนึ่ง
ทานจึงจัดองคทั้ง ๘ ของมรรคนันเปน ๓ ขันธ คือ ๓ หมวด คือ ศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ และ ปัญญาขันธ์ แตการจัดแบบธรรมขันธ ๓ นั้น มุงเพียงใหเห็นองคธรรมเปนหมวดหมูตามประเภท สวนการจัดเปนสิกขา ๓ ไตรสิกขานี้ มุงใหเห็นลําดับในกระบวนการปฏิบัติ หรือใชงานจริง
คําวา ไตรสิกขา แปลวา สิกขา ๓ คําวา สิกขา แปลวา การศึกษา การสําเหนียก การฝก ฝกหัด ฝกปรือ ฝกอบรม1118 ไดแกขอปฏิบัติที่เปนหลักสําหรับฝกอบรมพัฒนากายวาจา จิตใจ และปญญา ใหเจริญงอกงาม ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือความหลุดพน หรือนิพพาน สิกขา ๓ มีความหมายที่พูดคราวๆ อีกทีดังนี้1119
๑. อธิศีลสิกขา การฝกศึกษาในดานความประพฤติ ระเบียบวินัย ใหมีสุจริตทางกายวาจาและอาชีวะ
๒. อธิจิตตสิกขา การฝกศึกษาทางจิตใจ พัฒนาคุณธรรม สรางความสุข เสริมคุณภาพจิต และรูจักใช ความสามารถในกระบวนสมาธิ
๓. อธิปัญญาสิกขา การฝกศึกษาทางปญญาอยางสูง ทําใหเกิดความรูแจงที่สามารถชําระจิตให บริสุทธิ์หลุดพนโดยสมบูรณ เปนอิสระไรทุกขสิ้นเชิง